|
ธรรมฉันทกถา ว่าด้วยความใฝ่ดี
กุสลธมฺมจฺฉนฺโท ทุลฺลโภ โลกสฺมึ แปลความว่า ความพอใจในธรรมที่เป็นกุศล หาได้ยากในโลก (สุตฺต. องฺ. ๒๒/๓๖๗/๔๙๑) ความพอใจธรรมที่เป็นกุศล นั่นคือความใฝ่ดี ซึ่งตรงกับคำว่า ''รักดี'' เป็นคนรักดีเพราะมีธรรมฉันทะคือความใฝ่ดีภายในในจิตใจ เป็นคนประเภทปฏิโสตคามี  (เปิดอ่าน7815) |
20/2/2568 |
|
|
สาราณียธรรมกถา ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน
ยมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ยานิ ตานิ สพฺรหฺมจารีนํ อุจฺจาวจานิ กึกรณียานิ ตตฺถ ทกฺโข โหติ อนลโส ตตฺรุปายาย วีมํสาย สมนฺนาคโต อลํ กาตุ อลํ สํวิธาตุ อยมฺปิ ธมฺโม สาราณีโย (แม้ข้อที่ภิกษุเป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในกิจธุระใหญ่น้อยของเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย ประกอบด้วยปัญญาพิจารณาหาอุบายในกิจธุระนั้นๆ ทำเองก็ได้ จัดการให้คนอื่นทำก็ได้ นี้เป็นสาราณียธรรมคือเหตุให้บุคคลระลึกถึงกัน) (องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๗/๓๒)  (เปิดอ่าน7774) |
19/2/2568 |
|
|
จตุพลกถา ว่าด้วยกำลังสี่ประการ
จตฺตารีมานิ ภิกฺขเว พลานิ เป็นต้น แปลความว่า ภิกษุทั้งหลาย กำลัง ๔ ประการเหล่านี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ ปัญญาพละ กำลังปัญญา ๑ วิริยพละ กำลังความเพียร ๑ อนวัชชพละ กำลังการงานไม่มีโทษ ๑ สังคหพละ กำลังการสงเคราะห์ ๑  (เปิดอ่าน7587) |
18/2/2568 |
|
|
ธัมมสังคหกถา ว่าด้วยการสงเคราะห์ด้วยธรรม
อามิสสงฺคโห จ ธมฺมสงฺคโห จ อิเม โข ภิกฺขเว เทฺว สงฺคหา เป็นต้น แปลความว่า การสงเคราะห์ด้วยอามิส ๑ การสงเคราะห์ด้วยธรรม ๑ ภิกษุทั้งหลาย การสงเคราะห์ ๒ อย่างนี้แล ภิกษุทั้งหลาย บรรดาการสงเคราะห์ ๒ อย่างนี้ การสงเคราะห์ด้วยธรรมเป็นเลิศ  (เปิดอ่าน7902) |
17/2/2568 |
|
|
พหุการธรรมกถา ว่าด้วยธรรมมีอุปการะมาก
บุคคลผู้หวังความเจริญก้าวหน้าในชีวิตจึงควรน้อมนำเอาพหุการธรรม ๔ ประการนี้ไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ควรตั้งเป้าหมายชีวิตว่าตนเองต้องการจะเป็นอะไรในอนาคต เมื่อกำหนดเป้าหมายชัดเจนแล้วก็ดำเนินชีวิตไปสู่เป้าหมายนั้นด้วยอาศัยธรรม ๔ ประการ  (เปิดอ่าน8117) |
14/2/2568 |
|
|
วรพลกถา ว่าด้วยกำลังอันประเสริฐ
การศึกษาสร้างพลังปัญญาให้แก่สังคมโดยรวม เพราะ "กำลังปัญญาประเสริฐยอดเยี่ยมกว่ากำลังทั้งหลาย เพราะว่าบัณฑิตผู้มีกำลังปัญญาสนับสนุนย่อมได้รับความเจริญ"  (เปิดอ่าน8715) |
7/2/2568 |
|
|
เถรธัมมกถา ว่าด้วยธรรมของพระเถระ
ธรรมของพระเถระ ๕ ประการ : ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่คนหมู่มาก เพื่อความสุขแก่คนหมู่มาก เพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มาก  (เปิดอ่าน9827) |
4/2/2568 |
|
|
บุญกิริยากถา ว่าด้วยการทำบุญ
บางคนให้ทานด้วยตนเองด้วย ชักชวนคนอื่นด้วย เขาย่อมได้ทั้งโภคสมบัติและบริวารสมบัติ ในที่ที่ตนเกิดแล้ว “ปุญฺเมว โส สิกฺเขยฺย อายตคฺคํ สุขุทฺริยํ” เป็นต้น แปลความว่า “บุคคลควรศึกษาบุญนี่แหละ ซึ่งมีผลกว้างขวาง สร้างความสุขให้ คือ ควรบำเพ็ญทาน บำเพ็ญสมจริยาและควรเจริญเมตตาจิต”  (เปิดอ่าน10421) |
3/2/2568 |
|
|
อุปสมกถา ว่าด้วยความสงบ
บทพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตอนหนึ่งที่ว่า “พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง โททนต์เสน่งคง สำคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ สถิตทั่วแต่ชั่วดี ประดับไว้ในโลกา“  (เปิดอ่าน12216) |
31/1/2568 |
|
|
อาชานิยกถา ว่าด้วยบุคคลอาชาไนย
ภิกษุอาชาไนยมีคุณลักษณะ ๓ ประการ เช่นเดียวกับลักษณะของม้าอาชาไนย กล่าวคือ ๑) วณฺณสมฺปนฺโน สมบูรณ์ด้วยด้วยสีสันวรรณะ ๒) ชวสมฺปนฺโน สมบูรณ์ด้วยกำลังความเร็ว ๓) อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน สมบูรณ์ด้วยความสูงและความใหญ่  (เปิดอ่าน12859) |
29/1/2568 |
|
|