แนะนำวัดประยุรวงศาวาส
ประกาศผลสอบบาลี ประโยค ๑-๒ ถึง ป.ธ.๙ ประจำปี ๒๕๖๗ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ข่าวเด่น
 

ผู้นำชาวพุทธจาก ๕๕ ประเทศทั่วโลก เดินทางมาร่วมประชุม และเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชานานาชาติ ได้ร่วมกันประกาศปฏิญญากรุงเทพมหานคร เนื่องในการประชุมวิสาขบูชานานาชาติ ครั้งที่ ๑๘


วัดประยุรวงศาวาส|กิจกรรมงานวัด'๖๖
>>>สวดมนต์ข้ามปี วิถีออนไลน์ ต้อนรับปีใหม่ รับความเป็นสิริมงคล ๒๕๖๖
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>พิธีบำเพ็ญกุศลงาน ''สมโภชพระอาราม ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ''
>>>พิธีเปิดงาน ''สมโภชพระอาราม ๑๙๕ ปี วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร''
>>>พิธีเวียนเทียน 'วันมาฆบูชา' ปี ๒๕๖๖
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๖
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ใต้ร่มพระบารมี ๒๔๑ ปี กรุงรัตนโกสินทร์'
>>>ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์/การประชุมผู้บริหารและบุคลากรฯ
>>>พระพรหมโมลี/การประชุมสัมมนาพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา

[ไตรมาสที่ ๑] คณะสงฆ์|วัดประยูรฯ|พระธรรมเทศนา'๖๖|พระพรหมบัณฑิต
>>>[ธรรมกถา] ๐๐๑ 'อธิษฐานจิตรับชีวิตใหม่ ๒๕๖๖'
>>>[ธรรมกถา] ๐๐๒ 'กตัญญูบูชาและคาถาสุนทรีวาณี'
>>>[ธรรมกถา] ๐๐๓ 'สุขทุกข์อยู่ที่ใจ'
>>>พิธีบำเพ็ญกุศลงาน ''สมโภชพระอาราม ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ''
>>>พิธีเปิดงาน ''สมโภชพระอาราม ๑๙๕ ปี วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร''
>>>[บรรยาย] ๐๐๔ 'หลักศีล ๕ รากฐานการสร้างสังคม'
>>>[ปาฐกถา] ๐๐๕ 'คนทำดีมีเทวดาคุ้มครอง'
>>>[เสวนา] 001 Three Research Areas of Buddhist Studies
>>>[บรรยาย] ๐๐๖ 'พระพุทธศาสนากับการพัฒนาพื้นที่ทางสังคม'
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๐๗ 'ความอิ่มใจต่ออายุให้ยืนยาว'
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๐๘ 'คุณค่าที่ยิ่งใหญ่มาพร้อมกับความรับผิดชอบอันใหญ่ยิ่ง'
>>>[บรรยาย] ๐๐๙ 'พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ : ควอนตัมฟิสิกส์'
>>>[รับพระราชทาน] ภัตตาหารเพล น้ำปานะ และสิ่งของพระราชทาน
>>>[บรรยาย] ๐๑๐ 'การพัฒนาตัวชี้วัดด้านปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักพระพุทธศาสนา'
>>>[ต้อนรับ] คณะบุคคลสำคัญจากสมัชชาโลกแห่งอะห์ลุลบัยต์
>>>[ประชุม] คณะกรรมการอำนวยการจัดงานประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ ๑๘
>>>[ประชุม] คณะกรรมการการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ครั้งที่ ๑ ปี ๒๕๖๖
>>>[ประชุม] เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการเงินอุดหนุนฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖
>>>[ปาฐกถา] ๐๑๑ 'สังคมยั่งยืน ร่มเย็นเป็นสุขและเจริญด้วยธรรม'
>>>[ประธาน] พิธีเวียนเทียน 'วันมาฆบูชา' ปี ๒๕๖๖
>>>[บรรยาย] ๐๑๒ 'ธรรมะสำหรับผู้บริหารระดับอธิบดีอัยการ'
>>>[บรรยาย] ๐๑๓ 'แผนปฏิบัติการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ'
>>>[ประชุม] คณะอนุกรรมการจัดทำพระไตรปิฎก ฉบับภาษาอังกฤษ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖
>>>[ประชุม] คณะกรรมการ แก้ไข ปรับปรุงระเบียบมหาเถรสมาคม
>>>[บรรยาย] ๐๑๔ 'ชีวิตที่เพรียบพร้อมด้วยขันติและกรุณา'
>>>[บรรยาย] ๐๑๕ 'การพัฒนาจิตและสมาธิ'
>>>[บรรยาย] ๐๑๖ 'บทบาทเจ้าคณะพระสังฆาธิการกับการจัดการศาสนศึกษา'
>>>[ประชุม] ผู้บริหารศูนย์พระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์ ครั้งที่ ๑ /๒๕๖๖
>>>[บรรยาย] ๐๑๗ 'การตัดสินใจของผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภาวะผู้นำสูง'
>>>[บรรยาย] ๐๑๘ 'สติมาปัญญาเกิด'
>>>[บรรยาย] ๐๑๙ 'มีสติทุกก้าวย่างนำสู่ทางแห่งความเจริญ'
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๒๐ 'การตั้งสมณศักดิ์ในอดีตผ่านสู่คุณสมบัติการตั้งสงฆ์ปัจจุบัน'
>>>[บรรยาย] ๐๒๑ 'การบริหารงานยุติธรรมด้วยจริยธรรมและคุณธรรม'
>>>[ร่วมงาน] แถลงข่าว  “Bangkok River Festival 2023 เทศกาลวิถีน้ำวิถีไทย”
>>>[ปาฐกถา] ๐๒๒ 'Soft Power กับรัฐประศาสนศาสตร์ไทย'

[ไตรมาสที่ ๒] คณะสงฆ์|วัดประยูรฯ|พระธรรมเทศนา'๖๖|พระพรหมบัณฑิต
>>>[สมเด็จพระสังฆราช] ประทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
>>>[สัมปสาทนียกถา] ๐๒๓ 'ปัจจัยแห่งความสำเร็จ'
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๒๔ 'ปัจจัยแห่งความยิ่งใหญ่'
>>>[ประชุม] เชิงปฏิบัติการคู่มือการใช้งานซอฟต์แวร์โครงการจัดทำพระไตรปิฎก
>>>[พิธีถวาย] ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
>>>[บรรยาย] ๐๒๕ 'ความสุขในการทำงาน' สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
>>>[บรรยาย] ๐๒๖ 'วิธีผูกมิตรไมตรี' สามเณรปลูกปัญญาธรรม ปีที่ ๙
>>>[ให้กำลังใจ] คณะทำงานประเพณีสงกรานต์ วัดประยูรฯ ปี ๒๕๖๖
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๒๗ 'ปัจจัยแห่งอำนาจนุ่มนวล (Solf Power)'
>>>[ธรรมกถา] ๐๒๘ 'เรื่องดีให้จำได้ เรื่องร้ายให้ลืมไป'
>>>[ประธาน] พิธีเจริญพระพุทธมนต์ วันสถาปนาศาลยุติธรรม ๑๔๑ ปี
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๒๙ 'ใต้ร่มพระบารมี ๒๔๑ ปี กรุงรัตนโกสินทร์'
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๓๐ 'พัฒนาวัดเป็นพื้นที่ทางสังคม'
>>>[บรรยาย] ๐๓๑ 'ภาษาไทยกับการเทศน์'
>>>[เข้ารับ] การถวายทุนการศึกษาพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๓
>>>[บรรยาย] ๐๓๒ 'การพัฒนามหาวิทยาลัยสงฆ์ด้วยทุนทางสังคม'
>>>[บรรยาย] ๐๓๓ 'ผู้บริหารปริยัตินิเทศก์กับคุณภาพการศึกษาพระปริยัติธรรม' รุ่น ๑
>>>[บรรยาย] ๐๓๔ 'โอกาสแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาพระปริยัติธรรม'
>>>[บรรยาย] แก่ผู้เข้าอบรมในหลักสูตรบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ ๑๕
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๓๕ 'ผลิตพลเมืองดีของชาติ สร้างศาสนทายาทของพระศาสนา'
>>>[บรรยาย] ๐๓๖ 'ผู้บริหารปริยัตินิเทศก์กับคุณภาพการศึกษาพระปริยัติธรรม' รุ่น ๒
>>>[บรรยาย] ๐๓๗ 'สร้างพลเมืองดีของชาติ  สร้างศาสนทายาทที่ดีของพระศาสนา'
>>>[บำเพ็ญมหาทาน] อุทิศบุญแก่คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี
>>>[สัมโมทนียกถา] ครบรอบ ๑๐๐ ปี วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ
>>>[บรรยาย] ๐๓๘ 'การบริหารวัดด้วยหลักธรรมภิบาลของเจ้าอาวาสตาม พรบ คณะสงฆ์'
>>>[พิธีเปิด] ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์/การประชุมผู้บริหารและบุคลากรฯ
>>>[บรรยาย] ๐๓๙ 'องค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี'
>>>[ดำเนินรายการเสวนา] ๐๔๐ 'มุมมองของผู้บริหารในการประกันคุณภาพการศึกษา'
>>>[พิธีเปิด] พระพรหมโมลี/การประชุมสัมมนาพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
>>>[บรรยาย] ๐๔๑ 'ความสำคัญของการศึกษาพระปริยัติธรรมในการธำรงรักษาพระพุทธศาสนา'
>>>[ประชุม] คณะกรรมการอำนวยการจัดงานประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ ๑๘
>>>[บรรยาย] ๐๔๒ 'ปฏิภาณโวหารในการเทศน์'
>>>[โอวาทกถา] ๐๔๓ 'ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา'
>>>[บันทึก] พุทธธรรมนำปัญญา 'การศึกษาสงฆ์ ฟันเฟืองแห่งการสืบทอดพุทธศาสนา'
>>>[บรรยาย] ๐๔๔ 'พระสงฆ์ไทยพระสงฆ์โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุก'
>>>[ธรรมกถา] ๐๔๕ 'เสบียงบุญ'
>>>[แถลงข่าว] งานวิสาขบูชานานาชาติ ครั้งที่ ๑๘
>>>[บรรยาย] ๐๔๖ 'หลักธรรมกับการพัฒนา Human Soft Skills...'
>>>[ประชุม] คณะกรรมการบริหาร IABU & ICDV
>>>[ต้อนรับ] 'ดิเนช คุณวาระเดนะ นายกรัฐมนตรีศรีลังกา'
>>>[ประชุม] คณะกรรมการแปลพระไตรปิฎก ฉบับภาษาอังกฤษ
>>>[Vesak2023] สมเด็จพระสังฆราช ทรงเปิดพิธีเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชาโลก มจร
>>>[Vesak2023] พระพรหมบัณฑิต กล่าวต้อนรับการประชุมทางวิชาการฯ ๒๕๖๖ มจร
>>>[Vesak2023] นายกรัฐมนตรีศรีลังกา ปาฐกถาพิเศษ มจร
>>>[Vesak2023] พระพรหมบัณฑิต กล่าวต้อนรับการประชุมทางวิชาการฯ ๒๕๖๖ UN
>>>[Vesak2023] ผู้แทนพระองค์เปิดการประชุมชาวพุทธนานาชาติ ประจําปี ๒๕๖๖ UN
>>>[Vesak2023] ประกาศปฏิญญากรุงเทพมหานคร ครั้งที่ ๑๘ UN
>>>[Vesak2023] พิธีเจริญพระพุทธมนต์นานาชาติ วันวิสาขบูชา ปี ๒๕๖๖ พุทธมณฑล

 

          วันศุกร์ที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เวลา ๑๕.๓๐ น. พระพรหมบัณฑิต (ป.ธ.๙,ศ.,ดร.,ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์, อัคคมหาบัณฑิต) เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานกรรมการการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประธานศูนย์พระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์ ประธานสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก (ICDV) ประธานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ (IABU) อุปนายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวปาฐกถาและแถลงปฏิญญากรุงเทพฯ ครั้งที่ ๑๘ ที่สมเด็จพระสังฆราช ประมุขสงฆ์ ผู้นำชาวพุทธจาก ๕๕ ประเทศทั่วโลก ที่เดินทางมาร่วมประชุม และเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชานานาชาติ เรื่อง “พุทธปัญญากับการรับมือวิกฤตโลก” (Buddhist Wisdom Coping with Global Crises) เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก ประจำปี ๒๕๖๖ โดยวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ มีการจัดประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาการ พระพุทธศาสนา แสดงนิทรรศการ งานศิลปะวัฒนธรรม ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตําบลลําไทร อําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และวันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ จัดให้มีการประชุมสัมมนาและเฉลิมฉลองวันสําคัญสากลของโลก ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดําเนินนอก กรุงเทพมหานคร ได้ร่วมกันประกาศปฏิญญากรุงเทพมหานคร เนื่องในการประชุมวิสาขบูชานานาชาติ ครั้งที่ ๑๘  ดังนี้

ปฏิญญากรุงเทพฯ ครั้งที่ ๑๘ การประชุมวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก
พุทธปัญญากับการรับมือวิกฤติโลก

*********

ระหว่างวันที่ ๑ - ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖/ค.ศ.๒๐๒๓
ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย อยุธยา
และศูนย์การประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ
ประเทศไทย

********

          เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๒ ผู้แทน ๓๔ ประเทศ ริเริ่มโดยประเทศศรีลังกา ได้เสนอต่อที่ประชุมสมัชชา สหประชาชาติ ให้วันวิสาขบูชา ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือนพฤษภาคมเป็นวันสำคัญสากลของโลก และขอให้มีการจัดงานฉลองที่สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติและสำนักงานประจำภูมิภาคต่างๆ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติได้มีมติรับรองตามนั้น (ในสมัยที่ ๕๔ วาระที่ ๑๗๔) ดังนั้น วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลของโลก จึงได้ก่อกำเนิดขึ้นในปี ๒๕๔๓ ด้วยความร่วมมือของชาวพุทธทุกนิกาย
 
          เพื่ออนุวัตรตามมติที่ประชุมสหประชาชาติ พวกเราจาก ๖๕ ประเทศและภูมิภาค จึงได้มาร่วมกันฉลองวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ระหว่างวันที่ ๑ - ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖/ค.ศ.๒๐๒๓ ตามประเพณีหลายปีที่ผ่านมา ถึงจะมีอุปสรรคขัดขวางในช่วงโควิดระบาดก็ตาม การประชุมครั้งนี้ จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และรัฐบาลไทย ภายใต้คำแนะนำของสภาสากลวันวิสาขาบูชา สมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานาชาติ และได้รับการสนับสนุนจากมหาเถรสมาคมแห่งประเทศไทย และขอบันทึกความชื่นชมยินดีอย่างสูงต่อ ฯพณฯ ดิเนศ คุณวัฒนะ นายกรัฐมนตรีประเทศศรีลังกา ที่แสดงปาฐกถาพิเศษเสนอข้อวิเคราะห์วิกฤติการณ์โลกที่มีลักษณะซับซ้อน ย้ำถึงสิ่งท้าทายภายหลังโรคโควิดในการป้องกันโรคระบาดจนถึงภาวะโลกร้อน และความขาดแคลนที่เป็นความจำเป็นเร่งด่วน ที่จะต้องใช้พุทธปัญญาเรื่องปฏิจจสมุปบาท ดังที่ปรากฏอยู่ในเรื่องมัชฌิมาปฏิปทา กุสโลบาย และกรุณาที่ประกอบด้วยสติอันจะนำไปสู่การตัดสินใจที่ถูกต้องทั่วทุกภาคส่วนสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ในการประชุม ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย พระนครศรีอยุธยา และศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ พวกเราได้พิจารณาเรื่อง “พุทธปัญญากับการรับมือวิกฤตโลก” โดยใช้ข้อคิดเห็นและแนวทางจากประเพณีปฏิบัติที่แตกต่างกัน ในที่สุดแห่งการฉลองและการประชุมที่ประสบผลสำเร็จ พวกเราได้มีมติเป็นเอกฉันท์ว่า
 
          ๑.โดยตระหนักถึงลักษณะความขัดแย้งในโลกว่ามีหลายมิติ เช่น บทบาทในสังคม ความเกี่ยวพันกันของความรับผิดชอบในสังคมมและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จึงกระตุ้นรัฐบาลในโลกให้พิจารณาหาแนวทางที่ใช้ปฏิบัติได้และส่งเสริมให้ตระหนักถึงหลักปฏิจจสมุปบาทในการช่วยยุติความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองในโลก โดยเฉพาะชาวพุทธโลกควรหาทางส่งเสริมสันติภาพและความสมานฉันท์ทั่วทั้งโลก โดยใช้พุทธธรรมเรื่องอภัย อหิงสา เมตตาและขันติ รวมทั้งการทำงานอย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อยในการปรับท่าที่ของคนผู้ถูกความโลภ ความโกรธ และความหลงครอบงำ เพื่อสร้างสังคมแห่งกุศลธรรมสำหรับมนุษยชาติ
 
          ๒. เพื่อส่งเสริมสันติภาพภายในจิตใจของแต่ละคน โดยนำหลักสติปัฏฐานไปปฏิบัติกันทั่วทั้งโลก และใช้เป็นธรรมโอสถสำหรับทุกคน
 
          ๓. เพื่อคงแนวคิดแบบมองโลกแง่ดีว่า ปัญหาในโลกถึงยากที่จะแก้ไขแต่ก็ไม่เป็นปัญหาที่แก้ไขยากโดยธรรชาติ แต่ที่เป็นเช่นนั้นเพราะคนเรามองหาวิธีแก้ไขปัญหาผิดที่ผิดทางต่างหากพระพุทธศาสนาสอนให้มองข้ามเป้าหมายของการแก้ปัญหาแบบเพ้อฝัน และแนะให้คนเราอยู่กับแนวปฏิบัติที่เป็นไปได้และดำรงอยู่บนฐานของความเข้าใจเกี่ยวกับอนิจจตาคือความไม่แน่นอน
 
          ๔. เพื่อตัดสินใจเพิ่มความพยายามยิ่งขึ้นในการสร้างสันติภาพโลก โดยอาศัยการยกระดับการรับรู้ถึงข้อจำกัดที่ว่าสิ่งทั้งหลายต่างอิงอาศัยกันและกันเกิดขึ้น เข้าใจสมุฏฐานของความรุนแรงและรับทราบปัญหาอันเนื่องมาจากความเห็นแก่ตัว
 
          ๕. เพื่อปลูกฝังคุณค่าแห่งการยอมรับและเคารพลัทธิศาสนาอื่น ในฐานะเป็นขั้นตอนที่จำเป็นต่อความสามัคคีของคนในสังคม และการพัฒนาเงื่อนไขที่จำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันโดยไม่ติดใจเรื่องความแตกต่าง และถึงจะแม้แตกต่าง แต่ก็ยังมีความเข้าใจและเคารพกัน
 
          ๖. เพื่อกำหนดรู้ความทุกข์อันลึกซึ้งที่เกิดจากการใช้อาวุธสร้างความขัดแย้งและที่เกิดจากวิกฤติการณ์โควิด-19 ที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก มีผลกระทบทั้งทางกายและทางจิตใจ และเพื่อกระตุ้นชาวพุทธจากทุกภาคส่วนให้ลงมือเผยแผ่พุทธธรรมสำหรับเปลี่ยนแปลงชีวิตให้ดีขึ้นตามวิถีของการฟื้นฟู โดยกำจัดความขาดแคลนด้วยกรุณาและกำจัดความวุ่นวายในสังคมด้วยปัญญา
 
          ๗. เพื่อส่งเสริมความเคารพต่อสิ่งมีชีวิตทุกรูปแบบ รวมทั้งสัตว์ พืช ที่มีชีวิตสัมพันธ์กับมนุษย์อย่างแน่นแฟ้น ซึ่งมีความสัมพันธ์กันโดยตรงมากกว่าที่เราเคยทราบกันมาก่อน
 
          ๘. เพื่อส่งเสริมการสนองตอบอย่างตื่นรู้ร่วมกันต่อวิกฤติการณ์ทางนิเวศวิทยา และความเสื่อมโทรมของสภาพอากาศ โดยใช้หลักคำสอนเรื่องอหิงสาและกรุณา ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นควบคู่กับเทคโนโลยีในการลดแก๊สคาร์บอน
 
          ๙. ตระหนักถึงความไม่แน่นอนของชีวิตในช่วงที่มีโรคระบาด จึงเน้นย้ำหลักการอิงอาศัยกันและกันของการดูแลรักษาทางด้านจิตใจและการช่วยเหลือทางด้านวัตถุด้วยมนุษยธรรม รวมทั้งการใช้วิธีการด้านเศรษฐกิจในโลกหลังโควิด
 
         ๑๐. เพื่อแสดงความเห็นชอบอย่างยิ่งต่อโครงการแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลีเป็นภาษาอังกฤษ ที่ริเริ่มโดยมหาเถรสมาคมแห่งประเทศไทย และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไทย เพื่อเฉลิมฉลองพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐
 
          ในที่สุดนี้ ขออนุโมทนาขอบใจผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และหวังว่าพวกเราจะทำงานกันหนักก่อนการประชุมวันวิสาขบูชาครั้งต่อไป

ปฏิญญากรุงเทพฯ เนื่องในวันวิสาขบูชานานาชาติ ครั้งที่ ๑๘

ประกาศ ณ วันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖

******************

Bangkok Declaration of the 18th International Buddhist Conference on the United Nations Day of Vesak
 
Buddhist Wisdom Coping with Global Crises
 
1st–2nd June, 2023 (B.E. 2566)
 
At Mahachulalongkornrajavidyalaya University (MCU), Ayutthaya
United Nations Conference Centre, Bangkok, Thailand
 
********

          On 15th December 1999, representatives from 34 countries initiated by Sri Lanka proposed to the General Assembly of the United Nations that the full moon day in the month of May berecognized and observed, at the United Nations Headquarters and its Regional Offices, as the United Nations Day of Vesak. The General Assembly so resolved (Agenda Item 174 of Session No. 54) and, accordingly, the UN Day of Vesak was instituted in the year 2000 with the support of all Buddhist traditions. In the continued pursuance of that Resolution, we, participants from 65 countries and regions, have come together from June 1–2, 2023 (B.E. 2566) for the celebrations of the Buddha’s Birth, Enlightenment and Parinibbana. Following the tradition that has been interrupted during the Covid pandemic, this gathering was generously hosted by Mahachulalongkornrajavidyalaya University under the guidance of the International Council for the Day of Vesak (ICDV) and the International Association of Buddhist Universities (IABU), graciously supported by the Royal Government of Thailand, and with the blessings of Supreme Sangha Council of Thailand, and wishes to record their grateful admiration to His Excellency Dinesh Gunawardena, Prime Minister of Sri Lanka, for his keynote speech that offered an insightful analysis of the multifactored global crisis of our time highlighting the challenges of the post-Covid era ranging from disease prevention to global warming, and in this period of scarcity the urgent need to put into practice of the Buddha’s wisdom on inter-connectedness as amply demonstrated in the Middle Way, skillful means and mindful compassion, leading to wise decisions across the board for a more sustainable development.
 
In meetings at the Mahachulalongkornrajavidyalaya University Main Campus, Wang Noi, Ayutthaya; and at the United Nations Conference Centre, Bangkok, we have explored the topic of “Buddhist Wisdom Coping with Global Crises", sharing points of view and approaches from different traditions. At the conclusion of our successful celebrations and meetings we have unanimously resolved:
 
          1. Being mindful of the multifaceted nature of conflicts in the world: the role of society; the interplay of social responsibility; and economic development, to urge the governments in the world to consider pragmatic approach and promote awareness of interdependence to help bring an end to the social and political conflicts in the world. Especially, the Buddhists of the world seek to promote peace and reconciliation throughout the world by the skillful application of Buddhist teachings of forgiveness, non-violence, compassion and tolerance; and, to work tirelessly against the human tendency towards unbridled desire, hatred and ignorance, in order to establish a society which embraces the positive values of humankind;
 
          2. To promote mental, individual-based peace, by disseminating Buddhist mindfulness meditation practice globally, and be a direct and actionable medicine, open to all;
 
          3. To remain optimistic in the idea that the problems of the world seem so intractable, not because they fundamentally are, but because we look for the wrong kind of solution. Buddhism looks past a fixed Utopian end-goal and, instead, steers us in the direction of practical, dynamic solutions, that are grounded in an understanding of the nature of impermanence and change;
 
          4. To resolve to double the efforts to promote World Peace through raising the awareness of the limitations of our interdependent existence; understanding the origins of violence, and the sensibilities around identities;
 
          5. To foster the values of appreciation and respect toward other religious and spiritual traditions, as a necessary step toward social harmony and developing the necessary conditions for a communal living where unity does not exclude difference, and where difference does not exclude understanding and respect;
 
          6. To recognize the profound pain that armed conflicts and the Covid-19 crisis have caused in the entire world, both physically and psychologically, and to encourage Buddhists from all quarters to take actions in spreading the life-transforming teachings of the Buddha in our path to recovery, countering scarcity with compassion, and social unrest with understanding;
 
          7. To promote respect for all forms of sentient life including animals and plants, whose life is interconnected with humanity in deeper, and more directly entwined, ways than we have conceived in the past;
 
          8. To promote a collective awakened response to the ecological crisis and climate degradation through the teaching of non-violence (ahimsa) and compassion, combining traditional wisdom and technology in carbon reduction;
 
          9. Being mindful of the uncertainty of life during the pandemic, to practically emphasize the interdependent nature between spiritual care and humanitarian material needs, as well as the economic mechanisms in our post-Covid world; and
 
          10. To express our highest esteem for the Royal Thai Tipi?aka Translation Project, a translation of the Pali Tipi?aka into English, initiated by the Supreme Sangha Council of Thailand and generously sponsored by the Royal Government of Thailand commemorating the Coronation of His Majesty King Vajiralongkorn, Rama X.
 
          In conclusion, we thank all those involved and look forward to the diligent work ahead of our next convocation.
 
          Done as the Bangkok Declaration of the Eighteen Anniversary Celebrations of the United Nations Day of Vesak, this 2nd Day of June 2023 (BE 2566).

 

คลิกฟังเสียง / ดาวน์โหลดเสียงปาฐกถาและการแถลง
>>>เรื่อง '
Bangkok Declaration of the 18th'

คลิกชมวีดิทัศน์ / ดาวน์โหลดวีดิทัศน์ปาฐกถาและการแถลง
>>>เรื่อง '
Bangkok Declaration of the 18th'


ภาพ / ข่าว : พระครูปลัดสุวัฒนบัณฑิตคุณ ผจล. วัดประยุรวงศาวาส
วีดิทัศน์ : พระมหาสุรชัย สุรทสฺสี ผจล.วัดประยุรวงศาวาส
               สมหมาย สุภาษิต และคณะทำงาน มจร
ภาพ : MCU TV-Channel, เพจต่างๆ 


































วัดประยุรวงศาวาส
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>6 ไฮไลต์ที่ต้องปักหมุดเที่ยว (ตามรอยบุพเพสันนิวาส ตอนที่ ๑)
>>>บุพเพสันนิวาส ๒” ที่เปิดตัวแรงสุด ๆ (ตามรอยบุพเพสันนิวาส ตอนที่ ๒)
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๕
>>>พิธีสมโภชวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ครบ ๑๙๔ ปี
>>>พิธีทอดกฐินพระราชทาน วัดประยุรวงศาวาส ประจำปี ๒๕๖๔
>>>ประเพณีลอยกระทงประทีปเทียนหอม วัดประยูรฯ ประจำปี ๒๕๖๔
>>>ขอเชิญเที่ยวงานลอยกระทงประทีปเทียนหอม วัดประยูรฯ ประจำปี ๒๕๖๓
>>>ขอเชิญร่วมทำบุญกฐินพระราชทานวัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๓
>>>พิธีบำเพ็ญกุศลตักบาตรเทโวโรหณะ วัดประยูรฯ ปี ๒๕๖๓
>>>ร่วมงานแถลงข่าว“River Festival 2020 สายน้ำแห่งวัฒนธรรมไทย”ครั้งที่ ๖
>>>๕ สมเด็จพระราชาคณะ ร่วมงานสมโภช ๑๙๒ ปี วัดประยูรฯ
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๒ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>ขอเชิญร่วมงานส่งท้ายปีเก่า ๒๕๖๒ วิถีไทยต้อนรับปีใหม่ ๒๕๖๓
>>>ขอเชิญเที่ยวงานลอยกระทง วัดประยูรฯ ประจำปี ๒๕๖๒
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๒
>>>สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเปิดอาคาร "สิริภักดีธรรม"
>>>ขอเชิญร่วมงานส่งท้ายปีเก่า ๒๕๖๑ วิถีไทยต้อนรับปีใหม่ ๒๕๖๒ วิถีพุทธ
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๑ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๑
>>>แถลงข่าวการจัดงานสงกรานต์ประจำปี ๒๕๖๑ Water Festival 2018
>>>๓ สมเด็จพระราชาคณะ ร่วมเจริญพระพุทธมนต์งานสมโภชวัดประยูรฯ ๑๙๐ ปี
>>>เปิดงานสมโภช ๑๙๐ ปี วัดประยูรฯ อย่างอลังการ สืบสานวัฒนธรรมไทย
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๐ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>งาน"วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ๑๘๙ ปี"
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน"สมโภช ๑๘๘ ปี วัดประยูรฯ"ปี ๒๕๕๙
>>>สมโภชพระอาราม ๑๘๘ ปี วัดประยูรฯ พ.ศ.๒๕๕๙
>>>๑๕ เมษายน"วันปีใหม่ วันเถลิงศก"วัดประยูรฯ ปี ๒๕๕๘
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์ วัดประยูรฯ ๒๕๕๘
>>>WaterFestival ล่องเรือฟรี ๗ ท่าน้ำ วัดประยูร ฯ ๒๕๕๘
>>>เที่ยวงานเทศกาลสงกรานต์ วัดประยูรฯ ๒๕๕๘ 
>>>เที่ยวสงกรานต์ ๒๕๕๘ วัดประยุรวงศาวาส
>>>ขอเชิญเที่ยวงานฉลองวัด"ประยูรฯวัดรั้วเหล็ก"๑๘๗ ปี 
>>>รวมภาพบรรยากาศ งานฉลองรางวัลยูเนสโก ๒๕๕๗ 
>>>เจดีย์วัดประยุรวงศาวาสฯ มรดกทางวัฒนธรรม
>>>เจดีย์มีแกนกลางแบบอยุธยาได้รับรางวัลที่ ๑ จากยูเนสโก
>>>"เจดีย์พระประธาน"วัดประยูรฯ ชนะเลิศอนุรักษ์
>>>'เจดีย์พระประธาน' วัดประยูรฯ ชนะเลิศจากยูเนสโก 
>>>Award of Excellence
>>>วัดประยุรวงศาวาสฯ คว้ารางวัล "ยูเนสโก" 
>>>"วัดประยุรวงศาวาส" ในสายตา UNESCO 
>>>พระบรมธาตุมหาเจดีย์ วัดประยุรวงศาวาส
>>>มส. มอบของยังชีพแก่ผู้ประสบอัคคีภัยชุมชนจอมทอง


 


ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม1 : Download? (284 kb)
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม2 : Download? (284 kb)
0 ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม3 : Download? (284 kb)
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม4 : Download? (284 kb)
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม5 : Download? (284 kb)

เขียนเมื่อ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2566 | อ่าน 698
เขียนโดย วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

 
 
 
 
   
ข่าวเด่น อื่นๆ
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ปี ๒๕๖๗
การประชุมคณะกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ปี ๒๕๖๗ (เปิดอ่าน90)
22/4/2567
เวทีสานเสวนา เรื่อง 'วัดประยุรวงศาวาสและชุมชนย่านกะดีจีน - คลองสาน มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม คู่กรุงรัตนโกสินทร์' งานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์
งานวัดพัฒนาประชาคม ไหว้พระรับพรย้อนวันวาน สารพันอาหาร ย่านกะดีจีน-คลองสาน ภายใต้งานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน70)
20/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต และกล่าวสัมโมทนียกถา เรื่อง 'กรุงรัตนโกสินทร์ อินทอโยธยา' ในพิธีเปิดงานวัดพัฒนาประชาคม ไหว้พระรับพรย้อนวันวาน สารพันอาหาร ย่านกะดีจีน-คลองสาน
พิธีเปิดงานวัดพัฒนาประชาคม ไหว้พระรับพรย้อนวันวาน สารพันอาหาร ย่านกะดีจีน-คลองสาน ภายใต้งานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน162)
19/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการจัดงานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
การประชุมคณะกรรมการจัดงานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน202)
16/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธาน และกล่าวธรรมกถา เรื่อง 'สงกรานต์ไทย:มรดกทางวัฒนธรรมของโลก' ในพิธีสรงน้ำพระเทศกาลประเพณีวันสงกรานต์ ประจำปี ๒๕๖๗
เทศกาลประเพณีสงกรานต์ 'Bangkok River Festival 2024 เทศกาลวิถีน้ำวิถีไทย' ครั้งที่ ๙ 'สนุกอย่างดีงามก้าวข้ามปีใหม่ไทย' จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๖ - ๑๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๗ (เปิดอ่าน74)
15/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานโครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗
การประชุมคณะทำงานโครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน320)
9/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานในการประชุมผู้บริหารศูนย์พระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์ ครั้งที่ ๑ /๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
การประชุมผู้บริหารศูนย์พระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์ ครั้งที่ ๑ /๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน305)
9/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานในพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ เนื่องในเทศกาลประเพณีสงกรานต์ ประจำปี ๒๕๖๗ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
งานประเพณีสงกรานต์ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 'Water Festival 2024 เทศกาลวิถีน้ำ วิถีไทย สนุกอย่างดีงาม ก้าวข้ามปีใหม่ไทย' ระหว่างวันที่ ๖-๑๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๗ (เปิดอ่าน275)
9/4/2567
พระพรหมบัณฑิต แสดงพระธรรมเทศนากัณฑ์อุโบสถ เรื่อง 'โลกปาลกถา' ว่าด้วยธรรมะคุ้มครองโลก ในวันธรรมสวนะ (วันพระแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔) เป็นพระธรรมเทศนาแสดงกัณฑ์ที่ ๑๑ ปี ๒๕๖๗
การแสดงพระธรรมเทศนากัณฑ์อุโบสถในวันธรรมสวนะ วันพระแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ณ วัดประยุรวงศาวาส เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน374)
8/4/2567
หนังสือธรรม บทความพระธรรมเทศนาวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
วีดีโอธรรมะ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
แฟ้มรูปภาพ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
บทเทศนา วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
บทความ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ดาวน์โหลดเอกสาร วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
องค์การบริหารงานของวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
สำนักงานเจ้าแขวงกัลยาณมิตร วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ชมรมศิษย์เก่า วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ศูนย์พระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์
ศูนย์แปลพระไตรปิฎกภาษาอังกฤษ
โครงการอบรมพระนักเทศน์
กะดีจีนคลองสาน
WatPrayoon Dhamma Radio
สถานีวิทยุธรรมะวัดประยูรฯ
วีดีโอวัดประยูรฯ
วีดีโอเพิ่มเติม
ขณะนี้ 79 คน
วันนี้ 613 คน
เมื่อวานนี้ 889 คน
เดือนนี้ 37,848 คน
เดือนที่ผ่านมา 38,662 คน
ทั้งหมด 2,626,087 คน
เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2556
 
วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐
โทร. ๐-๒๔๖๖-๑๖๙๓, ๐-๒๔๖๕-๕๕๙๒ โทรสาร ๐-๒๔๖๖-๙๔๙๘
สำนักงานฌาปนสถาน ๐-๒๔๖๖-๑๑๖๐, ๐-๒๔๖๕-๒๒๙๘ | www.watprayoon.com
Copyright © Watprayoon.com 2024 All Rights Reserved. พัฒนาเว็บไซต์โดย SchoolJob