|
อนุสติฐานกถา ว่าด้วยเหตุแห่งการระลึกถึง อิทํ อานนฺท อนุสฺสติฏฺฐานํ เอวํ ภาวิตํ เอวํ พหุลีกตํ สติสมฺปชญฺญาย สํวตฺตตีติ ฯ (องฺ.ปญฺจก. (บาลี) ๒๒/๓๐๐.๗/๓๖๓) ฐานแห่งอนุสตินี้ที่บุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อสติสัมปชัญญะ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือ หลวงพ่อโต จัดเป็นฐานแห่งพุทธานุสติชั้นเลิศ คู่บ้านคู่เมืองมาเป็นเวลากว่า ๗ ศตวรรษจึงมีพลังอันเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวพุทธจากทิศานุทิศพากันมากราบไหว้บูชา  (เปิดอ่าน8850)
10/4/2568 |
|
|
สนันตนกถา ว่าด้วยเรื่องโบราณ สจฺจํ เว อมตา วาจา แปลความว่า วาจาจริงเป็นสิ่งไม่ตาย (สํ.ส. ๑๕/๒๗๘, ขุ.สุ. ๒๕/๔๑๒, ขุ.เถร. ๒๖/๔๓๔) เมื่อจะพูดความจริงที่กล่าวออกไปนั้นต้องมี อัตถะ (ประโยชน์) และเป็นธรรม (ความถูกต้องและเหมาะสม) ความจริงบางอย่าง หากพูดออกไปแล้วอาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ก็ไม่จำเป็นต้องพูด  (เปิดอ่าน8742)
9/4/2568 |
|
|
ธรรมฉันทกถา ว่าด้วยความใฝ่ดี กุสลธมฺมจฺฉนฺโท ทุลฺลโภ โลกสฺมึ แปลความว่า ความพอใจในธรรมที่เป็นกุศล หาได้ยากในโลก (องฺ. ปญฺจก.๒๒/๔๙๑/๓๖๗) ความพอใจธรรมที่เป็นกุศล นั่นคือความใฝ่ดี ซึ่งตรงกับคำว่า ''รักดี'' เป็นคนรักดีเพราะมีธรรมฉันทะคือความใฝ่ดีภายในในจิตใจ เป็นคนประเภทปฏิโสตคามี  (เปิดอ่าน28726)
20/2/2568 |
|
|
สาราณียธรรมกถา ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน ยมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ยานิ ตานิ สพฺรหฺมจารีนํ อุจฺจาวจานิ กึกรณียานิ ตตฺถ ทกฺโข โหติ อนลโส ตตฺรุปายาย วีมํสาย สมนฺนาคโต อลํ กาตุ อลํ สํวิธาตุ อยมฺปิ ธมฺโม สาราณีโย (แม้ข้อที่ภิกษุเป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในกิจธุระใหญ่น้อยของเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย ประกอบด้วยปัญญาพิจารณาหาอุบายในกิจธุระนั้นๆ ทำเองก็ได้ จัดการให้คนอื่นทำก็ได้ นี้เป็นสาราณียธรรมคือเหตุให้บุคคลระลึกถึงกัน) (องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๗/๓๒)  (เปิดอ่าน27717)
19/2/2568 |
|
|
จตุพลกถา ว่าด้วยกำลังสี่ประการ จตฺตารีมานิ ภิกฺขเว พลานิ เป็นต้น แปลความว่า ภิกษุทั้งหลาย กำลัง ๔ ประการเหล่านี้ ๔ ประการเป็นไฉน คือ ปัญญาพละ กำลังปัญญา ๑ วิริยพละ กำลังความเพียร ๑ อนวัชชพละ กำลังการงานไม่มีโทษ ๑ สังคหพละ กำลังการสงเคราะห์ ๑  (เปิดอ่าน27274)
18/2/2568 |
|
|
ธัมมสังคหกถา ว่าด้วยการสงเคราะห์ด้วยธรรม อามิสสงฺคโห จ ธมฺมสงฺคโห จ อิเม โข ภิกฺขเว เทฺว สงฺคหา เป็นต้น แปลความว่า การสงเคราะห์ด้วยอามิส ๑ การสงเคราะห์ด้วยธรรม ๑ ภิกษุทั้งหลาย การสงเคราะห์ ๒ อย่างนี้แล ภิกษุทั้งหลาย บรรดาการสงเคราะห์ ๒ อย่างนี้ การสงเคราะห์ด้วยธรรมเป็นเลิศ  (เปิดอ่าน26578)
17/2/2568 |
|
|
พหุการธรรมกถา ว่าด้วยธรรมมีอุปการะมาก บุคคลผู้หวังความเจริญก้าวหน้าในชีวิตจึงควรน้อมนำเอาพหุการธรรม ๔ ประการนี้ไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ควรตั้งเป้าหมายชีวิตว่าตนเองต้องการจะเป็นอะไรในอนาคต เมื่อกำหนดเป้าหมายชัดเจนแล้วก็ดำเนินชีวิตไปสู่เป้าหมายนั้นด้วยอาศัยธรรม ๔ ประการ  (เปิดอ่าน26602)
14/2/2568 |
|
|
วรพลกถา ว่าด้วยกำลังอันประเสริฐ การศึกษาสร้างพลังปัญญาให้แก่สังคมโดยรวม เพราะ "กำลังปัญญาประเสริฐยอดเยี่ยมกว่ากำลังทั้งหลาย เพราะว่าบัณฑิตผู้มีกำลังปัญญาสนับสนุนย่อมได้รับความเจริญ"  (เปิดอ่าน21134)
7/2/2568 |
|
|
เถรธัมมกถา ว่าด้วยธรรมของพระเถระ ธรรมของพระเถระ ๕ ประการ : ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่คนหมู่มาก เพื่อความสุขแก่คนหมู่มาก เพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มาก  (เปิดอ่าน22494)
4/2/2568 |
|
|
บุญกิริยากถา ว่าด้วยการทำบุญ บางคนให้ทานด้วยตนเองด้วย ชักชวนคนอื่นด้วย เขาย่อมได้ทั้งโภคสมบัติและบริวารสมบัติ ในที่ที่ตนเกิดแล้ว “ปุญฺเมว โส สิกฺเขยฺย อายตคฺคํ สุขุทฺริยํ” เป็นต้น แปลความว่า “บุคคลควรศึกษาบุญนี่แหละ ซึ่งมีผลกว้างขวาง สร้างความสุขให้ คือ ควรบำเพ็ญทาน บำเพ็ญสมจริยาและควรเจริญเมตตาจิต”  (เปิดอ่าน23092)
3/2/2568 |
|
|
อุปสมกถา ว่าด้วยความสงบ บทพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตอนหนึ่งที่ว่า “พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง โททนต์เสน่งคง สำคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ สถิตทั่วแต่ชั่วดี ประดับไว้ในโลกา“  (เปิดอ่าน23374)
31/1/2568 |
|
|
อาชานิยกถา ว่าด้วยบุคคลอาชาไนย ภิกษุอาชาไนยมีคุณลักษณะ ๓ ประการ เช่นเดียวกับลักษณะของม้าอาชาไนย กล่าวคือ ๑) วณฺณสมฺปนฺโน สมบูรณ์ด้วยด้วยสีสันวรรณะ ๒) ชวสมฺปนฺโน สมบูรณ์ด้วยกำลังความเร็ว ๓) อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน สมบูรณ์ด้วยความสูงและความใหญ่  (เปิดอ่าน24359)
29/1/2568 |
|
|
พุทธิวินยกถา ว่าด้วยความรู้คู่วินัย พุทธศาสนสุภาษิตว่า “สพฺพํ สุตมธีเยถ หีนมุกฺกุฏฺมชฺฌิมํ” เป็นต้น แปลความว่า “ความรู้ควรเรียนทุกอย่าง ทั้งชั้นต้น ชั้นกลาง ชั้นสูง ควรทำความเข้าใจความหมายของเรื่องที่เรียนทั้งหมด แต่ไม่ใช่ว่าจะใช้ประโยชน์จากทุกเรื่องที่เรียน วันหนึ่งจะถึงเวลาที่ความรู้นั้นนำประโยชน์มาให้”  (เปิดอ่าน20932)
27/1/2568 |
|
|
อิทธิบาทกถา ว่าด้วยอิทธิบาททำให้อายุยืน อิทธิบาททั้ง ๔ อันผู้ใดผู้หนึ่งเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว...ผู้นั้นเมื่อหวังอยู่ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป บุคคลผู้เจริญอิทธิบาท ๔ สามารถมีชีวิตอยู่ได้ตลอดอายุขัยหรือเกินกว่านั้น คำว่า อิทธิบาท หมายถึง คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่ปรารถนา  (เปิดอ่าน19430)
27/1/2568 |
|
|
สัมมาสังกัปปกถา ว่าด้วยความดำริชอบ คำว่า “สังกัปปะ” ถูกใช้แปลคำว่า “Concept” หรือ “ความคิดรวบยอด” เป็นการคิดวิเคราะห์หรือคิดในเชิงสรุปข้อความที่ซับซ้อน ซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ทำให้ไม่สามารถนำสัมมาสังกัปปะไปปฏิบัติในชีวิตจริงได้ เพราะคิดว่าเป็นเรื่องที่ซับซ้อนเกินกว่าที่จะนำมาปฏิบัติ  (เปิดอ่าน20553)
23/1/2568 |
|
|
วิชชูปมกถา ว่าด้วยปัญญาประดุจสายฟ้า พระธรรมเทศนากัณฑ์อุโบสถ แสดงในวันธรรมสวนะ (วันพระแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๘) เป็นพระธรรมเทศนาแสดงกัณฑ์ที่ ๑๙ แห่งปี ๒๕๖๗ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๗ เวลา ๐๙.๔๐ น.  (เปิดอ่าน20135)
9/9/2567 |
|
|
วชิโรปมกถา ว่าด้วยปัญญาประดุจเพชร พระธรรมเทศนาในกิจกรรมโครงการ 'เทศนาธรรม ๔ ภาค ทั่วไทย' ครั้งที่ ๔ (หนกลาง) เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๗๒ ณ Exhibition Hall ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร  (เปิดอ่าน19805)
7/7/2567 |
|
|
เมตตากถา ว่าด้วยความรักและความหวังดี พระธรรมเทศนา เรื่อง 'เมตตากถา' ว่าด้วยความรักและความหวังดี ในการพระราชทานเพลิงศพ พระราชญาณมงคล (เสน่ห์ ปภงฺกโร ป.ธ.๕) อดีตเจ้าอาวาสวัดปรมัยยิกาวาส ณ วัดปรมัยยิกาวาส อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๖  (เปิดอ่าน23434)
3/4/2567 |
|
|
ภาวิตปุคคลกถา ว่าด้วยบุคคลที่พัฒนาแล้ว พระธรรมเทศนา ในพิธีบำเพ็ญกุศลอุทิศถวายในโอกาสครบ ๑๒๐ ปีชาตกาล พระพรหมคุณาภรณ์ (เจียม จิรปุญฺโญ) และวันอดีตเจ้าอาวาส วัดโสธรวรารามวรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗  (เปิดอ่าน23928)
27/3/2567 |
|